ยาขาดแคลน

      ตามที่กองนโยบายแห่งชาติด้านยาได้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการยาขาดแคลนแบบบูรณาการ โดยให้สถานพยาบาลซึ่งเป็นผู้ใช้ยา และบริษัทยาทั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้าแจ้งสถานการณ์การขาดแคลนยามายังกองนโยบายแห่งชาติด้านยา ซึ่งเป็นหน่วยงานในการประสาน รับเรื่อง ตรวจสอบข้อมูล พิจารณาแนวทางแก้ไข ประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งติดตามและเฝ้าระวังปัญหาการขาดแคลนยาในประเทศ                     ในการนี้ กองนโยบายแห่งชาติด้านยา จึงขอประชาสัมพันธ์รายการยาที่มีปัญหาขาดแคลนรายเดือน ณ มีนาคม 2566 ยาขาดแคลนที่ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ หมายถึง ยาที่มีความจำเป็นและส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข ซึ่งปัจจุบันปริมาณ Supply ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ยาและ/หรือไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาในการกลับมาจำหน่ายเป็นปกติได้ สาเหตุการขาดแคลน (Shortage Reasons) ที่แสดงผลบนเว็บไซต์ ได้แก่                 (1) ปรับปรุง/แก้ไขทะเบียน/GMP                        (2) ขาดแคลนวัตถุดิบทางยา (3) บริษัทยกเลิกการผลิต/นำเข้า              (4) การขนส่งสินค้าล่าช้ากว่ากำหนด (5) ปริมาณความต้องการใช้ยาเพิ่มมากขึ้น        (6) เรียกเก็บยาคืนจากท้องตลาด (7) อื่นๆ       ทั้งนี้ ท่านสามารถกดลิงค์ด้านล่างเพื่ออ่านรายละเอียดรายการยาขาดแคลนรายเดือน ณ  มีนาคม 2566 และโปรดเลือกรอบรายงาน มี.ค.66 ซึ่งเป็นรอบปัจจุบันล่าสุด    https://lookerstudio.google.com/reporting/453d10ce-1d92-4ea1-82f9-855874241743  

29/05/2566

      ตามที่กองนโยบายแห่งชาติด้านยาได้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการยาขาดแคลนแบบบูรณาการ โดยให้สถานพยาบาลซึ่งเป็นผู้ใช้ยา และบริษัทยาทั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้าแจ้งสถานการณ์การขาดแคลนยามายังกองนโยบายแห่งชาติด้านยา ซึ่งเป็นหน่วยงานในการประสาน รับเรื่อง ตรวจสอบข้อมูล พิจารณาแนวทางแก้ไข ประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งติดตามและเฝ้าระวังปัญหาการขาดแคลนยาในประเทศ                     ในการนี้ กองนโยบายแห่งชาติด้านยา จึงขอประชาสัมพันธ์รายการยาที่มีปัญหาขาดแคลนรายเดือน ณ กุมภาพันธ์ 2566  จำนวน 28 รายการ เป็นรายการการยาที่อยู่ในสถานะยังขาดแคลน (Currently in shortage) จำนวน 8 รายการ สถานะอยู่ระหว่างดำเนินการแก้ไข (In process) จำนวน 16 รายการ  เป็นยาที่อยู่ในสถานะแก้ไขเสร็จแล้ว (Resolved) จำนวน 4 รายการ ยาขาดแคลนที่ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ หมายถึง ยาที่มีความจำเป็นและส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข ซึ่งปัจจุบันปริมาณ Supply ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ยาและ/หรือไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาในการกลับมาจำหน่ายเป็นปกติได้ สาเหตุการขาดแคลน (Shortage Reasons) ที่แสดงผลบนเว็บไซต์ ได้แก่                 (1) ปรับปรุง/แก้ไขทะเบียน/GMP                        (2) ขาดแคลนวัตถุดิบทางยา (3) บริษัทยกเลิกการผลิต/นำเข้า              (4) การขนส่งสินค้าล่าช้ากว่ากำหนด (5) ปริมาณความต้องการใช้ยาเพิ่มมากขึ้น        (6) เรียกเก็บยาคืนจากท้องตลาด (7) อื่นๆ       ทั้งนี้ ท่านสามารถกดลิงค์ด้านล่างเพื่ออ่านรายละเอียดรายการยาขาดแคลนรายเดือน ณ กุมภาพันธ์ 2566 และโปรดเลือกรายงานยาขาดแคลน 2 ซึ่งสามารถคัดกรองชื่อยาเบื้องต้น และหมวดของสถานะยาขาดแคลนได้     https://lookerstudio.google.com/reporting/453d10ce-1d92-4ea1-82f9-855874241743  ​ ​  

14/03/2566

       ตามที่กองนโยบายแห่งชาติด้านยาได้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการยาขาดแคลนแบบบูรณาการ โดยให้สถานพยาบาลซึ่งเป็นผู้ใช้ยา และบริษัทยาทั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้าแจ้งสถานการณ์การขาดแคลนยามายังกองนโยบายแห่งชาติด้านยา ซึ่งเป็นหน่วยงานในการประสาน รับเรื่อง ตรวจสอบข้อมูล พิจารณาแนวทางแก้ไข ประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งติดตามและเฝ้าระวังปัญหาการขาดแคลนยาในประเทศ                     ในการนี้ กองนโยบายแห่งชาติด้านยา จึงขอประชาสัมพันธ์รายการยาที่มีปัญหาขาดแคลนรายเดือน ณ มกราคม 2566  จำนวน 27 รายการ เป็นรายการการยาที่อยู่ในสถานะยังขาดแคลน (Currently in shortage) จำนวน 8 รายการ สถานะอยู่ระหว่างดำเนินการแก้ไข (In process) จำนวน 14 รายการ  เป็นยาที่อยู่ในสถานะแก้ไขเสร็จแล้ว (Resolved) จำนวน 5 รายการ ยาขาดแคลนที่ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ หมายถึง ยาที่มีความจำเป็นและส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข ซึ่งปัจจุบันปริมาณ Supply ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ยาและ/หรือไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาในการกลับมาจำหน่ายเป็นปกติได้ สาเหตุการขาดแคลน (Shortage Reasons) ที่แสดงผลบนเว็บไซต์ ได้แก่                 (1) ปรับปรุง/แก้ไขทะเบียน/GMP                        (2) ขาดแคลนวัตถุดิบทางยา (3) บริษัทยกเลิกการผลิต/นำเข้า              (4) การขนส่งสินค้าล่าช้ากว่ากำหนด (5) ปริมาณความต้องการใช้ยาเพิ่มมากขึ้น        (6) เรียกเก็บยาคืนจากท้องตลาด (7) อื่นๆ  

07/02/2566

        ตามที่กองนโยบายแห่งชาติด้านยาได้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการยาขาดแคลนแบบบูรณาการ โดยให้สถานพยาบาลซึ่งเป็นผู้ใช้ยา และบริษัทยาทั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้าแจ้งสถานการณ์การขาดแคลนยามายังกองนโยบายแห่งชาติด้านยา ซึ่งเป็นหน่วยงานในการประสาน รับเรื่อง ตรวจสอบข้อมูล พิจารณาแนวทางแก้ไข ประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งติดตามและเฝ้าระวังปัญหาการขาดแคลนยาในประเทศ                      ในการนี้ กองนโยบายแห่งชาติด้านยา จึงขอประชาสัมพันธ์รายการยาที่มีปัญหาขาดแคลนรายเดือน ณ พฤศจิกายน 2565  จำนวน 26 รายการ เป็นรายการการยาที่อยู่ในสถานะยังขาดแคลน (Currently in shortage) จำนวน 17 รายการ เป็นยาที่อยู่ในสถานะแก้ไขเสร็จแล้ว (Resolved) จำนวน 9 รายการ ยาขาดแคลนที่ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ หมายถึง ยาที่มีความจำเป็นและส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข ซึ่งปัจจุบันปริมาณ Supply ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ยาและ/หรือไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาในการกลับมาจำหน่ายเป็นปกติได้ สาเหตุการขาดแคลน (Shortage Reasons) ที่แสดงผลบนเว็บไซต์ ได้แก่                 (1) ปรับปรุง/แก้ไขทะเบียน/GMP                        (2) ขาดวัตถุดิบทางยา (3) บริษัทยกเลิกการผลิต/นำเข้า              (4) มีปัญหาด้านการขนส่ง  (5) ปริมาณความต้องการใช้ยาเพิ่มมากขึ้น        (6) เรียกเก็บยาคืนจากท้องตลาด (7) อื่นๆ

10/01/2566

       ตามที่กองนโยบายแห่งชาติด้านยาได้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการยาขาดแคลนแบบบูรณาการ โดยให้สถานพยาบาลซึ่งเป็นผู้ใช้ยา และบริษัทยาทั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้าแจ้งสถานการณ์การขาดแคลนยามายังกองนโยบายแห่งชาติด้านยา ซึ่งเป็นหน่วยงานในการประสาน รับเรื่อง ตรวจสอบข้อมูล พิจารณาแนวทางแก้ไข ประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งติดตามและเฝ้าระวังปัญหาการขาดแคลนยาในประเทศ                      ในการนี้ กองนโยบายแห่งชาติด้านยา จึงขอประชาสัมพันธ์รายการยาที่มีปัญหาขาดแคลนรายเดือน ณ พฤศจิกายน 2565  จำนวน 20 รายการ เป็นรายการการยาที่อยู่ในสถานะยังขาดแคลน (Currently in shortage) จำนวน 16 รายการ เป็นรายการยาที่อยู่ในสถานะแก้ไขเสร็จแล้ว (Resolved) จำนวน 4  รายการ ยาขาดแคลนที่ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ หมายถึง ยาที่มีความจำเป็นและส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข ซึ่งปัจจุบันปริมาณ Supply ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ยาและ/หรือไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาในการกลับมาจำหน่ายเป็นปกติได้ สาเหตุการขาดแคลน (Shortage Reasons) ที่แสดงผลบนเว็บไซต์ ได้แก่                 (1) ปรับปรุง/แก้ไขทะเบียน/GMP                        (2) ขาดวัตถุดิบทางยา (3) บริษัทยกเลิกการผลิต/นำเข้า              (4) มีปัญหาด้านการขนส่ง  (5) ปริมาณความต้องการใช้ยาเพิ่มมากขึ้น        (6) เรียกเก็บยาคืนจากท้องตลาด (7) อื่นๆ  

09/12/2565

       ตามที่กองนโยบายแห่งชาติด้านยาได้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการยาขาดแคลนแบบบูรณาการ โดยให้สถานพยาบาลซึ่งเป็นผู้ใช้ยา และบริษัทยาทั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้าแจ้งสถานการณ์การขาดแคลนยามายังกองนโยบายแห่งชาติด้านยา ซึ่งเป็นหน่วยงานในการประสาน รับเรื่อง ตรวจสอบข้อมูล พิจารณาแนวทางแก้ไข ประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งติดตามและเฝ้าระวังปัญหาการขาดแคลนยาในประเทศ                     ในการนี้ กองนโยบายแห่งชาติด้านยา จึงขอประชาสัมพันธ์รายการยาที่มีปัญหาขาดแคลนรายเดือน ณ ตุลาคม 2565  จำนวน 17 รายการ เป็นรายการการยาที่อยู่ในสถานะยังขาดแคลน (Currently in shortage) จำนวน 15 รายการ เป็นรายการยาที่อยู่ในสถานะแก้ไขเสร็จแล้ว (Resolved) จำนวน 2 ยาขาดแคลนที่ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ หมายถึง ยาที่มีความจำเป็นและส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข ซึ่งปัจจุบันปริมาณ Supply ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ยาและ/หรือไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาในการกลับมาจำหน่ายเป็นปกติได้ สาเหตุการขาดแคลน (Shortage Reasons) ที่แสดงผลบนเว็บไซต์ ได้แก่                 (1) ปรับปรุง/แก้ไขทะเบียน/GMP                        (2) ขาดวัตถุดิบทางยา (3) บริษัทยกเลิกการผลิต/นำเข้า              (4) มีปัญหาด้านการขนส่ง  (5) ปริมาณความต้องการใช้ยาเพิ่มมากขึ้น        (6) เรียกเก็บยาคืนจากท้องตลาด (7) อื่นๆ

03/11/2565

       ตามที่กองนโยบายแห่งชาติด้านยาได้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการยาขาดแคลนแบบบูรณาการ โดยให้สถานพยาบาลซึ่งเป็นผู้ใช้ยา และบริษัทยาทั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้าแจ้งสถานการณ์การขาดแคลนยามายังกองนโยบายแห่งชาติด้านยา ซึ่งเป็นหน่วยงานในการประสาน รับเรื่อง ตรวจสอบข้อมูล พิจารณาแนวทางแก้ไข ประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งติดตามและเฝ้าระวังปัญหาการขาดแคลนยาในประเทศ                      ในการนี้ กองนโยบายแห่งชาติด้านยา จึงขอประชาสัมพันธ์รายการยาที่มีปัญหาขาดแคลนในสถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควิด-19 ณ กันยายน 2565  จำนวน 37 รายการ เป็นรายการการยาที่อยู่ในสถานะยังขาดแคลน (Currently in shortage) จำนวน 14 รายการ เป็นรายการยาที่อยู่ในสถานะแก้ไขเสร็จแล้ว (Resolved) จำนวน 22 รายการ และ อื่นๆ  1 รายการ ยาขาดแคลนที่ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ หมายถึง ยาที่มีความจำเป็นและส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข ซึ่งปัจจุบันปริมาณ Supply ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ยาและ/หรือไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาในการกลับมาจำหน่ายเป็นปกติได้ สาเหตุการขาดแคลน (Shortage Reasons) ที่แสดงผลบนเว็บไซต์ ได้แก่                 (1) ปรับปรุง/แก้ไขทะเบียน/GMP                        (2) ขาดวัตถุดิบทางยา (3) บริษัทยกเลิกการผลิต/นำเข้า              (4) มีปัญหาด้านการขนส่ง  (5) ปริมาณความต้องการใช้ยาเพิ่มมากขึ้น        (6) เรียกเก็บยาคืนจากท้องตลาด (7) อื่นๆ

10/10/2565

     ตามที่กองนโยบายแห่งชาติด้านยาได้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการยาขาดแคลนแบบบูรณาการ โดยให้สถานพยาบาลซึ่งเป็นผู้ใช้ยา และบริษัทยาทั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้าแจ้งสถานการณ์การขาดแคลนยามายังกองนโยบายแห่งชาติด้านยา ซึ่งเป็นหน่วยงานในการประสาน รับเรื่อง ตรวจสอบข้อมูล พิจารณาแนวทางแก้ไข ประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งติดตามและเฝ้าระวังปัญหาการขาดแคลนยาในประเทศ                       ในการนี้ กองนโยบายแห่งชาติด้านยา จึงขอประชาสัมพันธ์รายการยาที่มีปัญหาขาดแคลนในสถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควิด-19 ณ สิงหาคม 2565  จำนวน 33 รายการ เป็นรายการการยาที่อยู่ในสถานะยังขาดแคลน (Currently in shortage) จำนวน 10 รายการ เป็นรายการยาที่อยู่ในสถานะแก้ไขเสร็จแล้ว (Resolved) จำนวน 21 รายการ และ อื่นๆ  2 รายการ ยาขาดแคลนที่ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ หมายถึง ยาที่มีความจำเป็นและส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข ซึ่งปัจจุบันปริมาณ Supply ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ยาและ/หรือไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาในการกลับมาจำหน่ายเป็นปกติได้ สาเหตุการขาดแคลน (Shortage Reasons) ที่แสดงผลบนเว็บไซต์ ได้แก่                 (1) ปรับปรุง/แก้ไขทะเบียน/GMP                        (2) ขาดวัตถุดิบทางยา (3) บริษัทยกเลิกการผลิต/นำเข้า              (4) มีปัญหาด้านการขนส่ง  (5) ปริมาณความต้องการใช้ยาเพิ่มมากขึ้น        (6) เรียกเก็บยาคืนจากท้องตลาด (7) อื่นๆ  

07/09/2565

       ตามที่กองนโยบายแห่งชาติด้านยาได้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการยาขาดแคลนแบบบูรณาการ โดยให้สถานพยาบาลซึ่งเป็นผู้ใช้ยา และบริษัทยาทั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้าแจ้งสถานการณ์การขาดแคลนยามายังกองนโยบายแห่งชาติด้านยา ซึ่งเป็นหน่วยงานในการประสาน รับเรื่อง ตรวจสอบข้อมูล พิจารณาแนวทางแก้ไข ประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งติดตามและเฝ้าระวังปัญหาการขาดแคลนยาในประเทศ                     ในการนี้ กองนโยบายแห่งชาติด้านยา จึงขอประชาสัมพันธ์รายการยาที่มีปัญหาขาดแคลนในสถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควิด-19 ณ กรกฎาคม 2565  จำนวน 32 รายการ เป็นรายการการยาที่อยู่ในสถานะยังขาดแคลน (Currently in shortage) จำนวน 7 รายการ เป็นรายการยาที่อยู่ในสถานะแก้ไขเสร็จแล้ว (Resolved) จำนวน 23 รายการ และ อื่นๆ  2 รายการ ยาขาดแคลนที่ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ หมายถึง ยาที่มีความจำเป็นและส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข ซึ่งปัจจุบันปริมาณ Supply ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ยาและ/หรือไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาในการกลับมาจำหน่ายเป็นปกติได้ สาเหตุการขาดแคลน (Shortage Reasons) ที่แสดงผลบนเว็บไซต์ ได้แก่                 (1) ปรับปรุง/แก้ไขทะเบียน/GMP                        (2) ขาดวัตถุดิบทางยา (3) บริษัทยกเลิกการผลิต/นำเข้า              (4) มีปัญหาด้านการขนส่ง  (5) ปริมาณความต้องการใช้ยาเพิ่มมากขึ้น        (6) เรียกเก็บยาคืนจากท้องตลาด (7) อื่นๆ    

08/08/2565

          ตามที่กองนโยบายแห่งชาติด้านยาได้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการยาขาดแคลนแบบบูรณาการ โดยให้สถานพยาบาลซึ่งเป็นผู้ใช้ยา และบริษัทยาทั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้าแจ้งสถานการณ์การขาดแคลนยามายังกองนโยบายแห่งชาติด้านยา ซึ่งเป็นหน่วยงานในการประสาน รับเรื่อง ตรวจสอบข้อมูล พิจารณาแนวทางแก้ไข ประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งติดตามและเฝ้าระวังปัญหาการขาดแคลนยาในประเทศ                         ในการนี้ กองนโยบายแห่งชาติด้านยา จึงขอประชาสัมพันธ์รายการยาที่มีปัญหาขาดแคลนในสถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควิด-19 ณ มิถุนายน 2565  จำนวน 36 รายการ เป็นรายการการยาที่อยู่ในสถานะยังขาดแคลน (Currently in shortage) จำนวน 11 รายการ เป็นรายการยาที่อยู่ในสถานะแก้ไขเสร็จแล้ว (Resolved) 23 จำนวน รายการ และ อื่นๆ  2 รายการ ยาขาดแคลนที่ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ หมายถึง ยาที่มีความจำเป็นและส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข ซึ่งปัจจุบันปริมาณ Supply ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ยาและ/หรือไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาในการกลับมาจำหน่ายเป็นปกติได้ สาเหตุการขาดแคลน (Shortage Reasons) ที่แสดงผลบนเว็บไซต์ ได้แก่                 (1) ปรับปรุง/แก้ไขทะเบียน/GMP                        (2) ขาดวัตถุดิบทางยา (3) บริษัทยกเลิกการผลิต/นำเข้า              (4) มีปัญหาด้านการขนส่ง  (5) ปริมาณความต้องการใช้ยาเพิ่มมากขึ้น        (6) เรียกเก็บยาคืนจากท้องตลาด (7) อื่นๆ  

08/08/2565